Emma Goldman
อนาธิปไตยยืนหยัดเพื่อสิ่งใดอย่างแท้จริง
แม้นถูกใส่ร้ายปายสีในคําอัปรีย์สาปแช่ง
แม้นไร้หวงแห่งแสงซับซาบรู้แจ้งรู้ความ
แม้นเจ้านั้นไซร้ใจทมิฬพรั่นสะพรึงกลัว
กระมึนมืดมิดมิสลัวสยองเกล้าแห่งเผ่าพันธุ์
“ดั่งพิษร้ายอันซ่อนเร้นเค้นชั่วทั่วคําสั่ง”
จงรํ่าหลั่งพลั่งระงม ชํ้าตรมระทมไห้
“ดั่งจิตเจ้ามิหลุดพ้นรุ่มร้อนรนรุมสุมไฟ
เพลิงจัญไรใฝ่สงคราม พลางเหยียดหยามทรามฆาตกรรม"
โถ ชํ้าชอกจงร้องสะอื้นจื้นเจือก
ไร้กระสนกระเสือกไร้ทางสู้
เฟ้นสิ่งแฝงเพียรใช้ตา ใช่ประจักษ์รู้
ยิ่งดิ่สู่ผู้มืดบอดมอดม้วยทอดฝูงบอดชั่วกัลป์
อันเจ้าโถ คําไร้เงื่อนงําซํ้าตรึงตรา
ประกาศิตลิขิตฟ้พลังคณนาสัจธรรมความจริง
ทุกสรรพสิ่งเจ้าชิงเอ่ย เพียงมิละเลยเผยอัตตา
ล้วนต้องกมลข้าล่วงลุผลดุจดลใจ
ข้าจักเผื่ออรุณรุ่งจักมุ่งจุนเจือเพื่ออนาคตเจ้า!
ข้าจักเฝ้าปกป้า องสิ่งใต้ครอบครองได้ดํารงไว้
ข้าจักเชื่อนัยที่สุดจักผุดผลุนผลันเพลาลัย
วิญญชนไซร้จักตื่นรู้แจ้งแห่งตระหนักตน
แม้นแยกแยะสับสนเยื้องย่างกายแยบยลใต้แสงแดด
รึแทรกเสียงแผดระทึกแฝงพายุศึกอึกทึกมืดหม่น
ทว่าสายตาโลกแห่งหมู่มวลชน จักต้องพ้นเล่ห์กลแห่งมนต์ลวง!
มิอาจักช่วงชิงทั้งปวงตัวตนศักดาข้านักอนาธิปไตย!
กระนั้นจักมิว่าเยี่ยงไรจักมิเป็น นายผู้ขีดเขียนชีวิตใ
เฉกเช่นจักก้มหัวเยี่ยงบ่าวไพร่จักคลอบงําใต้กฎไหน นั่จักมิใช่ข้า!
John Henry Mackay (Year, 1888.)
ประพันธ์ปีพุทธศักราช 2431 สายป่าเพลิงศิลป์ ผู้แปล
ประวัติศาสตร์ของมนุษย์เติบโตและมีพัฒนาการไปพร้อมๆกับประวัติศาสตร์การต่อสู้อันรุนแรงไร้ความปราณีในทุกอณู ต่ออุดมคติใหม่ที่มุ่งสู่หนทางแห่งรุ่งอรุณผ่องอําพันที่งดงามกว่า พวกที่ยึดมั่นถือมั่นจนหัวปักหัวปำตามความเชื่อโบรํ่าโบราณอันครํ่าครึ มิเคยลังเลที่จักใช้ประโยชน์จากวิธีการแยบยลอันเหี้ยมโหดและเลวทรามอย่างที่สุด เพื่อคงไว้ซึ่งการมิให้ถือกําเนิดสิ่งใหม่มิว่าจะอุบัติในรูปแบบใด ทว่า เรามิจําเป็นต้องย้อนรอยเท้าทีละก้าวเพื่อกลับสู่อดีตอันไกลโพ้นเพียงให้ได้ตระหนักถึงความขัดแย้งอันวิปโยค ความอัตคัดอดสู และความอับจนในทุกหน ทางบนรากฐานแห่งแนวคิดเชิงก้าวหน้าที่เพียงต้องการการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เครื่องทรมานเครื่องพันธนาการตรึงแขนขา เครื่องตอกเล็บและแส้ลงทัณฑ์ยังคงอยู่กับเรา ภายใต้คราบชุดนักโทษและเพลิงแค้นอันเกรี้ยวโกรธแห่งสังคมก็เฉกเช่นเดียวกัน ต่างล่มหัวจมท้ายสมคบคิด ต่อกรกับจิตวิญญาณที่ก้าวไปข้างหน้าอย่างไม่สะทกสะท้าน
อนาธิปไตยมิหวังที่จักรอดพ้นจากเงื้อมมือแห่งชะตากรรมดั่งนวัตกรรมทั้งมวล ในฐานะนักปฏิวัติส่วนมากและผู้ริเริ่มที่แน่วแน่ อนาธิปไตยจําต้องเผชิญหน้ากับการรวมกันของความไม่รู้และพิษร้ายจากโลกที่มุ่งไว้เพื่อสร้างใหม่
หากจะให้จัดการกับสิ่งที่ถูกพูดหรือกระทำต่ออนาธิปไตยแม้เพืยงนิดเดียวคงเขียนหนังสือได้เป็นเล่ม ทว่าหลักโต้แย้งถึงข้อถกเถียงสําคัญควรมีเพียงสองประการ ซึ่งการจะจํากัดความเยี่ยงนั้นได้จําต้องเพิ่มความพยายามถึงขีดสุดในการสื่อความหมายอย่างชัดเจนที่ว่าอนาธิปไตยยืนหยัดเพื่อสิ่งใดอย่างแท้จริง
ปรากฏการณ์อันน่าประหลาดของการคัดค้านมิเห็นพ้องต่ออนาธิปไตยกลับนํามาซึ่งแสงสว่างแห่งการตื่นรู้ของปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่เรียกว่าสติปัญญาสร้างการตระหนักรู้ “เฉลียวฉลาด” และไร้ซึ่งปัญญา ขาดการตระหนักรู้ “โง่เขลา” ทว่านี่มิใช่เรื่องแปลกหากใช้ดุลพินิจแห่งทฤษฎีสัมพัทธภาพควบคู่กันไป กระทั่งพวกอวิชชาไร้อารยธรรมมิน้อยที่เห็นพ้องต้องกันว่าภูมิความรู้หรือการข่มใจอดทนอดกลั้นนั้นมิอาจแสร้งได้ และการกระทําที่เกิดจากแรงกระตุ้นเพียงให้ได้ยึดถือปฏิบัติก้มหน้าก้มตาสืบทอดคงอยู่บนเส้นบรรทัดฐานให้ได้ของเหตุและผลที่มิต่างจากเด็กๆ “ทําไม” “เพราะว่า” แท้จริงแล้วการเป็นปรปักษ์ของเหล่า “ผู้ไม่รู้” ต่ออนาธิปไตย จักสมควรได้รับการพิจารณาเฉกเช่นเดียวกับเหล่า “ผู้รู้”
สิ่งใดกันเล่าถึงกับหัวชนฝาดิ้นดานอย่างมิอาจะเห็นด้วยประการแรก อนาธิปไตยมิอาจเกิดขึ้นได้จริงแม้นเป็นอุดมคติอันดีงามก็ตาม ประการที่สองอนาธิปไตยยืนหยัดเพื่อความรุนแรงและภินทนาการทําลายล้างด้วยเหตุฉะนี้ จําต้องถูกปฏิเสธโดยสิ้นเชิงด้วยภาพอันฝังใจว่าเลวทรามตํ่าช้าและอันตราย ทว่า ทั้งคนฉลาดและคนเขลาต่างมิได้ตัดสินบนองค์ความรู้อันถ่องแท้ มิหนําซํ้ากลับยึดติดเพียงคําลวงแห่งครหานินทาหรือการตีความอันบิดเบือนเยี่ยงนั้นแทน
Oscar Wilde เอ่ยว่าแบบแผนอันดีควรเป็นได้ทั้งที่มีอยู่แล้วหรือบรรลุผลได้ภายใต้เงื่อนไขที่มีอยู่ ซึ่งจักมุ่งไว้เพียงเพื่อวัตถุประสงค์เดียว แต่มิว่าจะเป็นแบบแผนเยี่ยงใดก็ตามทีที่ยอมรับเงื่อนไขเยี่ยงนี้ให้ถือเป็นสิ่งมิถูกต้อง และช่างไม่เฉลียว กระนั้น เกณฑ์อันแท้จริงแห่งแผนที่ว่าดีมิใช่การที่คนรุ่นหลังสามารถรักษาสิ่งที่ผิดและคงความงี่เง่าสืบไว้ได้อย่างสมบูรณ์ ค่อนข้างจะเป็นไปได้หรือไม่ว่ารูปแบบแผนการที่ดีดังกล่าวควรจะทรงพลังพอที่จักออกจากนํ้านิ่งแอ่งเดิมเพื่อให้ได้รังสรรค์สร้างตลอดจนชีวิตใหม่ทียั่งยืน เมื่อใช้ดุลพินิจตระหนักในแง่คิดนี้ยิ่งดูเหมือนว่าอนาธิปไตยช่างเป็นแบบแผนอันดีงามควรนํามาปฏิบัติใช้กว่าอุดมคติอื่น ด้วยการที่อนาธิปไตยมุ่งขจัดวังวนของสิ่งมิถูกต้องและความโง่เขลาที่มากกว่า นี่แหละ จักพึงเรียกได้ว่าการรังสรรค์สร้างที่คํ้าจุนชีวิตใหม่ให้ยั่งยืน
เข้าใจถึงอารมณ์ของผู้ไร้ภูมิความรู้แห่งอนาธิปไตยที่บีบอัดสั่งสมมาอย่างต่อเนื่องด้วยเรื่องราวอันทําให้เลือดต้องเดือด พล่านจากเหล่านักอนาธิปไตยทว่านี่มิใช่เรื่องน่ากลัวจนเกินไปที่จักโต้แย้งแนวคิดรึปรัชญาเยี่ยงนี้ช่างตีความได้สุด เพี้ยนเฉกเช่นนี้อนาธิปไตยจึงแสดงให้เห็นว่ามิเคยตราหน้าคนชั่วที่ทําบาปอันอื้อฉาวกับเด็กว่าเป็ นเยี่ยงปี ศาจ เดรัจฉานใจระยําดําทมิฬกลืนกินทุกสรรพสิ่งเพียงเสี้ยวพริบตาและสร้างความวิบัติฉิบหายด้วยการใช้ความรุนแรง
ภินทนาการทําลายล้างและความรุนแรง!ต้องทําเยี่ยงไรกันเล่าเหล่าปวงชนทั้งมวลจึงจะตื่นรู้ว่าองค์ประกอบ ของความรุนแรงที่สําคัญที่สุดในสังคมคือความไม่รู้การไร้ซึ่งภูมิความรู้และขาดซึ่งความเข้าใจซึ่งนั่เป็ นขุมพลัง แห่งหายนะที่อนาธิปไตยยืนหยัดสู้มิมีผู้ใดทราบเลยว่าอนาธิปไตยซึ่งมีรากเหง้าเคยเป็ นและยังคงเป็ นส่วนหนึ่งของ พลังแห่งธรรมชาติและความพินาศทั้งปวง อันตรายเสมือนดั่งเนื้อร้ายทว่าการกัดกินแทะเล็มที่สร้การเจริญเติบโตง ให้กับปรสิตในสังคมกลับเผยให้เห็นถึงความจริงจากเศษซากของส่วนที่เหลืออยู่อย่างชัดเจน“แก่นแท้สาระสําคัญ ของชีวิต”ช่างประดุจดั่งการพรวนดินและการกําจัดวัชพืชด้วยมือที่เปื้ อนดินนั้นกลับรังสรรค์ซึ่งความงอกงามสมบูรณ์ เพื่อให้ผลลิตที่ดีที่สุด
เคยมีวาทกรรมที่ว าความต้องการในการพยายามใช้ความคิดของการประณามติฉินนินทาตรีตราให้ด อยค่า จักมีน้อยกว่าการใช้ความคิดซึ่งการแพร่หลายแห่งอันธการอย่างดาษดื่นในสังคมเป็ นเครื่องพิสูจน์แล้ว่าสิ่งนี้
เป็ นได้เพียง“เรื่องจริงซะยิ่งกว่าจริงเยี่ยงนั้น”แทนที่จะกลับไปพิจารณาถึงเจตจํานงเริ่มแรกในทุกๆ การแสดงความคิดเพื่อให้เข้าใจที่มาและนัยสารใจความ ชนมิน้อยกลับเลือกที่จะกล่าวโทษสร้างมลทินแบบเหมารวม หรือ้างอิงนิยามต่างๆเพียงผิวเผินด้วยเหตุแห่ง“อคติ” เยี่ยงนี้จึงไม่แม้นจักให้ค่าความสําคัญหรือความจําเป็ น
อนาธิปไตยเรียกร้องชี้นําให้ชนทั้งปวง คิดทบทวนตรวจสอบ และวิเคราะห์ในทุกเรื่องทว่าด้วยความสามารถ ทางสมองโดยเฉลี่ยของผู้อ่านที่มิต้องเสียภาษีมากจนเกินไปจักขอเริ่มจากคําจํากัดความนิยาม และตามด้วยการอธิบายรายละเอียด
อนาธิปไตยปรัชญาระเบียบสังคมใหม่บนพื้นฐานเสรีภาพอันมิอาจถูกลิดรอนจํากัดขอบเขตด้วยข้อกําหนดกฎหมาย ที่เพียงถูกสร้างและบัญญัติขึ้นทฤษฎีที่ว่ารัฐบาลทุกรูปแบบต่างยึดติดกับการใช้ความรุนแรงเฉกเช่นนี้จึงเป็นสิ่งที่ผิด มิถูกต้องและอันตรายมิหนําซํ้ายิ่งไร้ซึ่งความจําเป็ นให้ต องมี
แน่นอนว่าระเบียบสังคมใหม่ยังต้องดําเนินอยู่บนพื้นฐานแห่งวัตถุปัจจัยในขณะที่นักอนาธิปไตยก็เห็นพ้องต้องกัน ว่าสิ่งชั่วร้ายตัวพ่อณ เพลานี้มิใช่อื่นใดเจ้าตัว“เศรษฐกิจ” โดยต่างยืนยันว่ายังคงมีคําไขให้ได้หลุดพ้นจากเงื้อมมือ แห่งมัจจุราชตนนี้ ทว่าจักมีเพียงการใช้วิจารณญาณในทุกขณะของชีวิตเท่านั้นที่จะช่วยให้เราเหล่าวิญ�ูชน มิต้องตกเป็ นเหยื่อแม้นจักเป็ นส่วนตัวหรือส่วนรวมจากภายในหรือภายนอก ช่างมิต่างกัน
การพินิจพิจารณาอย่างถี่ถ้วนถึงประวัติศาสตร์แห่งพัฒนาการมนุษย์เผยชัดถึงความเป็ นสองมาตรฐาน ของการขัดแย้งอันน่าขม ืนระหว่างสองปัจจัยสําคัญเรื่องธรรมดาๆ ที่เราต่างเพิ่งเริ่มจะเข้าใจกระนั้นจักมิใช่ ความไม่รู้อีกต่อไปเพียงอยู่ในองค์ประกอบแวดล้อมที่เหมาะสมเท่านั้นจึงจะสร้างความสัมพันธ์อันใกล้ชิดและกลมกลืน กันอย่างแท้จริงขอ สัญชาตญาณระหว่าง“อัตลักษณ์แห่งตัวตนและความเป็ นสัตว์สังคม” ทว่าความเป็ ตัวตน และความเป็ นส่วนตัวของปัจเจกบุคคลยังจําต้องรบราฟาดฟันกับความเป็ นส่วนรวมของสังคมอย่างมิมีวันจักจบสิ้น ทั้งยังสร้างการนองเลือดสืบมาหลายยุคหลายสมัยด้วยความที่ต่างฝ่ ายต่างดิ้นรนแย่งชิงเพื่อให้ได้มาซึ่ง การครอบครองแห่งอํานาจอันสูงสุดมิหนําซํ้าต่มองไม่เห็นถึงคุณค่าและความสําคัญของอีกฝ่ าย เยี่ยงนี้แล้ว“สัญชาตญาณของปัจเจกบุคคลแ ะสังคม”จักเป็ นปัจจัยสําคัญที่เป็ นเรื่องง่ายๆ แต่ทรงพลังยิ่ง สําหรับความมุมานะอุตสาหะของแต่ละคนเพื่อการพัฒนาเติบโตความหลงใหลใฝ่ ฝันและการตระหนักรู้แห่งตน พร้อมด้วยปัจจัยอันทรงค่าเทียบเคียงแห่งการช่วยเหลือซึ่งกันและกันและความผาสุกของสังคม
คําอธิบายของพายุที่โหมกระหนํ่าภายในตัวบุคคลและระหว่างตนกับสภาพแวดล้อมรอบตัวนั้นหาได้มิยาก มนุษยชน แห่งบรรพกาลเมื่อมิสามารถเข้าใจในความเป็ นตัวตนแห่งตนได้จึงลดบทบาทความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน กับทุกสรรพสิ่งล มิใช่น้อยและจมอยู่กับความรู้สึกที่ว าตนจําต้องพึ่งพาอาศัยและขึ้นอยู่กับอํานาจแห่งความมืดบอด อย่างมิมีวันเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็พลังซ่อนเร้นที่พร้อมจู่โจมเพื่อการเย้ยหยันถากถางและเหน็บแนมตนเอง ทว่าทัศนคติ เยี่ยงนี้จักยิ่งส่งผลให้แนวคิดทางศาสนาของมนุษย์เติบโตและทรงอิทธิพล ในฐานะที่ชนทั้งปวงเป็ นได้เพียงเศษฝุ่ธุลีน ที่จําต้องพึ่งพาและขึ้นกับอํานาจอันสูงส่งแห่งเบื้องบนผู้ซึ่งจะสามารถทําให้พอใจได้วยการยอมจํานนอย่างสิ้นเชิง
มิเพียงเท่านั้นเมื่อตํานานเล่าขานแห่งโบราณกาลล้วนมีต้นกําเนิดอยู่บนรากฐานเชิงความคิดเยี่ยงนี้ทั้งยังยึดถือปฏิบัติ เป็ บรรทัดฐานเดียวกันโดยอ้างอิงเรื่องราวนิทานปรัมปราในพระคัมภีร์ที่เอ่ยถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับพระเจ้าต่อรัฐและสังคมฝังลึกซํ้าแล้วซํ้าเล่ากับสาระใจความที่ว า“มนุษย์ไร้ซึ่งค่า ทว่าพลังแห่งอํานาจเปรียบดั่ง ทุกสรรพสิ่ง”ด้วยเหตุฉะนี้พระยะโฮวาจักยังคงอยู่กับหมู่มวลมนุษยชนที่เพียงยอมตกอยู่ในสภาพของการจํานน โดยสิ้นเชิงเป็ นเงื่อนไขแม้นกฎหมายระเบียบข้อบังคับมิว่าจะเป็ นในส่วนของรัฐสังคมหรือศีลธรรมต่างห้ามปราม ในสิ่งที่เหมือนๆ กัน “มนุษย์จะได้รับความรุ่งโรจน์ทั้งปวงจากโลกหากเพียงไร้ซึ่งการตื่นู้ว่าตน คือมนุษย์”
อนาธิปไตยถือเป็ นปรัชญาเดียวที่ปลุกจิตสํานึกมนุษย์ให้ตื่นรู้ทั้งยืนยันว่าพระเจ้ารัฐและสังคมเป็ นสิ่งทไม่มีอยู่จริง กระนั้นคําสัญญาทั้งมวลของพวกเขาล้วนไร้ความหมายอย่าให้ซึ่งค่าและจงถือเป็ น“โมฆะ” สืบเนื่องจากสามารถ บรรลุผลดลใจได้เพียงการตกอยู่ใต้ฝ่ าเท้าแห่งการบังคับบัญชาจากมนุษย์สถานเดียวอนาธิปไตยจึงเป็ นครูผู้ปลูก
ภูมิปัญญาของความเป็ นเอกภาพแห่งความสามัคคีในชีวิตเพียงความเป็มิ นนํ้าหนึ่งใจเดียวกันกับธรรมชาติ ทว่าในความเป็ นมนุษย์นั้นมิควรมีความขัดแย้งใดระหว่างสัญชาตญาณของ“ความเป็ ตัวตนแห่งปัจเจกบุคคล และความเป็ นสัตว์สังคม” ที่จักทรงอิทธิพลเหนือกว่าทมีอยู่แล้วระหว่าง“หัวใจและปอด” เมื่อหัวใจเปรียบดั่ง คลังผู้รักษาแก่นแท้นัยสําคัญแห่งชีวิตอันลํ้าค่าปอดเป็ส่วนนผู้เก็บรักษาแก่นแท้ปัจจัยสําคัญขององค์ประกอบอื่นๆ ให้คงไว้ซึ่งแก่นแท้แห่งสัจธรรมอันบริสุทธิ์และทรงพลัง“การมีชีวิต”เฉกเช่นนี้ความเป็ นตัวตนแห่งปัจเจกบุคคล จึงเปรียบเสมือนหัวใจของสังคมอันจะรักษาไว้ซึ่งแก่นแท้ของชีวิตทางสังคมและสังคมเองมิต่างจาก“ปอด” ที่จักช่วย รักษาองค์ประกอบสําคัญอื่นให้คงไว้ซึ่งแก่นแท้แห่งชีวิตและนั่นคือ“ปัจเจกบุคคล”สัจธรรมอันบริสุทธิ์และทรงพลังยิ่ง
“สิ่งหนึ่งอันมีค่าบนโลก” Emerson เอ่ย“คือจิตวิญญาณอันทรงพลังซึ่งยั คงไหลเวียนอยู่ภายในตัวของมนุษย์ทั้งปวง สิ่งซึ่งเห็นสัจธรรมเที่ยงแท้เอ่ยซึ่งสัจธรรมเที่ยงธรรม และรังสรรค์สร้างด้วยการลงมือกระทํา” อาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า อัตลักษณ์ความเป็ นตัวตนของแต่ละคนนั้นเป็ นสิ่งที่มีค่ายิ่งบนโลกใบนี้ถือเป็ นขุมพลังแห่งจิตวิญญาณอันแท้จริง มองเห็นความจริงแม้นในความลวงและยืนหยัดสู้เพื่อให้ความจริงเป็ นสิ่งไม่ตายเยี่ยงนี้จักนํามาซึ่งสัจธรรมความจริง อันทรงพลังที่ยิ่งใหญ่กว่าเรียกขานว่า“จิตวิญญาณทางสังคมที่ถือกําเนิดใหม่”
อนาธิปไตยเป็ นผู้ปลดปล่อยที่ยิ่งใหญ่เมื่อได้มอบอิสรภาพแก่มนุษย์ให้หลุดพ้นจากการจองจําและตกเป็ นทาส ของเหล่าภูตผีทั้งยังเป็ นผู้ชี้ขาดและปลอบประโลมให้กับทั้งสองฝ่เพื่อคงรักษาไว้ซึ่งความสามัคคีปรองดองาย ระหว่างปัจเจกบุคคลแ ะสังคมทว่า การจะบรรลุผลซึ่งความเป็ นเอกภาพนั้นาธิปไตยได้ประกาศสงคราม กับเหล่าอิทธิพลทั้งมวลซึ่งล้วนแต่เป็ภยันตรายอันสร้างการขัดขวางและพร้อมที่จะทําลายความผสานกลมกลืนกัน ของสัญชาติญาณความเป็“อัตลักษณ์แห่งตัวตนและความเป็น นสัตว์สังคม” และความเป็ น“ปัจเจกบุคคลและสังคม”
ศาสนา อํานาจครอบงําจิตใจมนุษย์วัตถุทรึัพย์สินอํานาจครอบงําความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ส่วนรัฐบาล ถือเป็ นอํานาจครอบงําพฤติกรรมมนุษย์ซึ่งนี่ได้ตอกยํ้าให้เห็นถึงการฝั่งรากแห่งความเป็ นทาสของมนุษย์พร้อมกับ ความน่าสยดสยองสะพรึงกลัวทั้งมวลที่มิอาจะหลีกเลี่ยงได้ศาสนา! ครอบงําจิตใจมนุษย์มันฉีกหน้า และดูหมิ่นดูแคลนจนทําให้จิตวิญญาณมนุษย์เสื่อมทรา ลงได้เยี่ยงไร “พระองค์ทรงเป็ นทุกสรรพสิ่งส่วนมนุษย์นั้น มิมีค่าใด”ศาสนารํ่าพรํ่าสอนสิ่งอื่นใดนอกเหนือจากนั้นพระองค์มิได้เป็รังสรรค์นผู้างทั้งอาณาจักรแห่งเผด็จการ การกดขี่ข่มเหงความโหดร้ายทารุณมาตรการคุมเข้มที่ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิงกระนั้นความมืดมนเศร้าหมองนํ้าตา และการหลั่งนองเลือดได้เข้าครอบครองโลกนี้ตั้งแต่พระองค์ทรงจุติอนาธิปไตยปลุกมนุษย์ให้ตื่นรู้เพื่อยืนหยัดสู้ เยี่ยงกบฏต่อเจ้าปี ศาจทมิฬตนนี้“จงทําลายโซ่ตรวนทางจิตใจของเจ้าเอง”อนาธิปไตยเอ่ยกับมนุษย์หากมิใช่เพียงการ ที่เจ้าคิดและตัดสินด้วยตระหนักรู้แห่งตนแล้วเจ้าจะหลุดพ้นจากการถูกครอบงําภายใต้ความมืดบอดเฉกเช่นนี้ได้เยี่ยงไร นี่ช างเป็ นอุปสรรคอันใหญ่หลวงยิ่งนักเพียงทว่าจําต้องก้าวข้ามผ่านพ้นไปให้ได้
ทรัพย์สินอํานาจครอบงําความต้องการพื้นฐานของมนุษย์เป็ นการปฏิเสธสิทธิเพื่อต บสนองต่อความต้องการ อันแท้จริงแห่งตน เวลา เป็ นเพียงช่วงระยะเวลาที่ครอบครองกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินซึ่งเอ่ยอ้างถึงสิทธิ์อันศักดิ์สิทธิ์ จากเบื้องบนมนุษย์ก็มิอาจละเว้นเฉกเช่นเดียวกันแม้นในฐานะศาสนา “เครื่องสังเวย!การสละ! ยอมจํานน!”
จิตวิญญาณแห่งอนาธิปไตยช่วยฉุดมนุษย์ขึ้นจากการตกเป็ นทาสผู้ต้องหมอบก้มกราบ ทว่านี้ต่างยืนหยัดสู้ในเพลา หันหน้าเผชิญแสงเพื่อเรียนรู้ที่จะตระหนักถึง“ความไม่รู้จักพอ”อันเป็ธรรมชาติแห่งการทําลายล้างของทรัพย์สินน ซึ่งหมู่มวลมนุษยชาติผู้ตื่นรู้ต่างตระเตรียมความพร้อมในการที่จะเผด็จศึกเจ้าอสูรกายวายร้ายตนนี้ให้ดิ้นตาย
“ทรัพย์สมบัติมิต่างจากโจรกรรม” Proudhon นักอนาธิปไตยผู้ยิ่งใหญ่ชาวฝรั่งเศสเอ่ยวาทกรรมไว้เรื่องจริงมิหนําซํ้า ยังไร้ซึ่งความเสี่ยงและภยันตรายต่อโจรผู้ปล้นชิงด้วยความพยายามที่สั่งสมมาอย่างยาวนานของมนุษย์ในการผูกขาด กรรมสิทธิ์การครอบครองในวัตถุทรึัพย์สินได้ปล้นสิทธิโดยกํที่เหล่าเนิดปวงมนุษยชาติพึงมีทั้งสร้างความเหลื่อมลํ้า ให้ตกเป็ นผู้อนาถายากไร้ต้องถูกสังคมขับไล่ไสส่งไปโดยปริยายกระนั้นทรัพย์สินก็ไม่แม้นจักเสียเวลาให้กับคําแก้ตัวใด มนุษย์ต่างหากเล่าที่ยังสร้างมิพออันจะตอบสนองต่อความต้องการทั้งมวลแม้กระทั่งนักศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ มิว่าจะอยู่ในระดับชั้นปีต่างทราบดีว่าใดผลผลิตมวลรวมในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมาสูงเกินกว่าอุปสงค์ที่เป็ี้ น ความต้องการซื้อปกติทว่าความต้องการปกติในสภาวการณ์อันมิพึงปกตินั้นเป็ นเยี่ยงไรสําหรับทรัพย์สินแล้ว รับรู้ได้เพียงความต้องการเดียว“กิเลส” ความกระหายในความละโมบโลภแห่งตนเพื่อให้ได้มาซึ่งการเพิ่มพูนความมั่งคั่ง เมื่อความมั่งคั่งเปรียบดั่งพลังอํานาจ อํานาจแห่งการพิชิตบดขยี้และแสวงหาประโยชน์อํานาจแห่งการกดขี่มเหง ป่ าเถื่อนชั่วช้าและเลวทราม เราจักเห็นได้ไม่ยากับอเมริกาผู้โอ้อวดในอํานาจอันยิ่งใหญ่แห ตนบนความมั่งคั่งง อันมหาศาลแห่งชาติอเมริกาผู้น่าสงสารสมบัติพัสถานทั้งมวลของเจ้าจักมีประโยชน์เยี่ยงไรเล่าหากปวงชน ผู้เป็ นองค์ประกอบปัจจัยสําคัญแห่งประเทศนั้นช่างอัตคัตขัดสนแล ่าอนาถเมื่อจําต้องตกอยู่ในความเศร้าหมอง ความโสมม อาชญากรรมตํ่าช้าด้วยแสงแห่งความหวังอันริบหรี่ในความสุขที่ลบเลือนการเร่ร่อนจรจซัดเซพเนจร มิต่างจากเหล่านักรบไร้แผ่นดินให้ปกป้ องเป็ นเช่นนี้แลเหยื่อข งมนุษย์ผู้ถูกมนุษย์ด้วยกันไล่ล่า
เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับผลตอบแทนจากการร่วมลงทุนทางธุรกิจอันเกินทุนและสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
“การล้มละลาย”เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงมิได้ทว่าผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในธุรกิจที่มุแต่ผลผลิตแห่งความมั่งคั่งยังมิเคยง
แม้นจักเรียนรู้กระทั่งบทเรียนง่ายๆ นี้ในทุกๆ ปี ต้นทุนการใช้ชีวิตของมนุษย์กลับจะยิ่งเพิ่มสูงขึ้นเมื่อปี( ที่ผ่านมา มีจํานวนผู้เสียชีวิตกว่า50,000 ราย และหิวโหยกว่า100,000 รายในอเมริกา)กระนั้นค่าตอบแทนที่ได้รับ ของเหล่าแรงงานผู้ช่วยสร้างความมั่งคั่งกลับตํ่าต้อยด้อยค่าและ ดลงอย่างต่อเนื่องมิวายที่อเมริกาจักยังคงแต่ มืดบอดจนมองไม่เห็นถึงการล้มละลายอันหลีกเลี่ยงมิได้ของธุรกิจการผลิตแห่งปวงชน และนี่มิใช่เพียงอาชญากรรม เดียวที่เกิดขึ้นในยุคหลังแต่เลวร้ายิ่งไปกว่านั้นคือการก่อาชญากรรมอันเปลี่ยนให้แรงงานผู้ผลิตกลายเป็ นเพียง เศษเสี้ยวอนุภาคแห่งจักรกล ด้วยการลดทอนความมุ่งมตั้งใจและความสามารถในการตัดสินใจให้ไร้ค่ายิ่งกว่า่น ความเชี่ยวชาญในงานเหล็กของตนเอง มนุษยชนกําลังถูกปล้นมิเพียงแต่ผลงานการรังสรรค์สร้างทว่ายังรวมไปถึง “พลังอันเสรี” แห่งความคิดริเริ่มและความหลงใหลปรารถนาในสิ่งที่ตนกําลังทํา
ความมั่งคัที่ยั่งยืนอันแท้จริงประกอบด้วยสิ่งที่มีคุณูปการและงดงาม สิ่งที่ช่วยสร้างความแข็งแกร่งความสวยงาม แห่งเรือนร่างและสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้เป็ นดั่งแรงบันดาลใจในการใช้ชีวิตแต่ตราบใดที่มนุษย์ังม้วนเส้นฝ้ าย เข้าหลอดขุดเจาะถ่านหินใช้หรือสร้างถนนตลอดช่วงชีวิตกว่าสามสิบปีกระนั้คงมิอาจจะเอ่ยถึงความมั่งคั่งได้ สิ่งที่เขาได้มอบให้กับโลกใบนี้เป็ นเพียงแค่สีเทาและความสยดสยองแห่งความน่ารังเกียจสะท้อนให้เห็นถึงซึ่ง การดํารงอยู่างไร้ชีวิตชีวาและความน่าขยะแขยงอันพรั่นพรึงอ่อนแอเกินกว่าจะมีชีวิตและขลาดกลัวเกินกว่าจะตาย รู้สึกแปลกที่จําต้องเอ่ยพวกเขาช่างยกหางยกย่องสรรเสริญวิธีการลดทอนการผลิตแบบรวมศูนย์นี้ว่าเป็ นความสําเร็จ อัน่าภาคภูมิใจทีแห่สยงุดคของเรา ช่างจมกับความล้มเหลวอย่างที่สุดจนมิอาจพ้นตรมให้ตื่นรู้หากเรายังคงยอมรับ
ต่อสภาพจํานนจําต้องเชื่อฟังรับใช้คําสัเครื่องจักรเยี่ยง เยี่ยงนั้นความเป็ นทาสของเราจะยิ่งสมบูรณ์กว่า การตกเป็ นทาสต่อชนชั้นปกครองพวกเขามิต้องการที่จะรับู้ว่าการรวมศูนย์มิได้เป็ นเพียงความตายของเสรีภาพ เท่านั้นทว่ายังรวมไปถึงสิ่งดีๆดั่งความงามแห่งศิลปะและวิทยาศาสตร์ซึ่งสิ่งเหล่านี้มิสามารถบันดาลขึ้นได้ด้วยกลไก แห่งนาฬิกาบรรยากาศอารมณ์ศิลป์ ในแบบกลไก!
อนาธิปไตยมิสามารถบอกปัดปฏิเสธวิธีการดังกล่าวได้ เพียงทว่าให้พุ่งเป้ าไปที่การแสดงออกถึงตัวตนอย่างเป อิสระที่สุดเท่าที่จะเป็พลังแฝงทั้งมวลที่แต่ละบุคคลพึงจะมีนไปได้ด้วยOscar Wilde ให้คําจํากัดความที่สมบูรณ์แบบของ
บุคลิกภาพว่า“ผู้ที่เติบโตภายใต้สภาวะที่สมบูรณ์มิบาดเจ็บพิการหรือตกอยู่ในภยันตราย” กระนั้นบุคลิกภาพ
ที่สมบูรณ์แบบจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อสังคมให้อิสระกับมนุษย์ในการเลือกรูปแบบสภาพ และเสรีภาพในการทํางาน
ผู้คนที่ทําโต๊ะสร้างบ้านหรือไถพรวนดินนั่นจักเป็ นภาพที่ศิลปิ นวาดทั้งเป็ การค้นพบของบรรดานักวิทยาศาสตร์
นี่เป็ดั่งผลลัพธ์ของพลังสร้างสรรค์ในการทํางานนแรงบันดาลใจจากความปรารถนาอันแรงกล้าและความหลงใหล ใส่ใจอย่างลึกซึ้งอันถือเป็อุดมคติของอนาธิปไตยการเตรียมการทางเศรษฐกิจจําต้องประกอบไปด้วยความร่วมมือ กันของหลายฝ่ ายและหลากหลายภาคส่วนเพื่อการผลิตและการกระจายโดยสมัครใจจึงค่อยปรับพัฒนาไปสู่ ลัท ธิ ค อ ม มิ ว นิเสสรีต์ซึ่เป็ง น วิ ธี กผาลิร ตที่ ดี ที่เพรสุดาะสิ้ น เ ป ลืพอลัง ง า น ข อ งม นุษ ย์น้อ ย ที่ สุด อย่างไรก็ตามอนาธิปไตยยังตระหนักถึงสิทธิส่วนบุคคลแห่งอัตลักษณ์ตัวตนของทุกคนเพื่อจัดเตรียมและปรับ รูปแบบงานตลอดเวลาให้สอดคล้องกับรสนิยมความชื่นชอบและความหลงใหลปรารถนาของแต่ละบุคคล
การแสดงออกถึงพลังของมนุษย์อย่างอิสระเยี่ยงนี้เกิดขึ้นได้เมื่ออยู่ภายใต้เสรีภาพส่วนบุคคลและสังคมที่สมบูรณ์จัก
เพียงเท่านั้นอาธิปไตยได้นํากองกําลังเข้าสู้กับศัตรูตัวที่สามเจ้าศัตรูตัวฉกาจ“ความเหลื่อมลํ้าทางสังคม” ซึ่งรัฐหน่วยงานที่จัดตั้งหรือกฎหมายที่บัญญัติขึ้น ล้วนมิต่างจาก“การครอบงําพฤติกรรมนุษย์”
เฉกเช่นที่ศาสนา หล่อหลอมจิตใจมนุษย์ให้กลายเป็ นทรัพย์สินและการผูกขาดสิ่งต่างๆด้วยถือเป็ นการช่วยลด และยับยั้งความต้องการของมนุษย์เยี่ยงนี้รัฐจึงกดขี่จิตวิญญาณชนทั้งปวงด้วยการสั่งการในทุกขั้นตอน ของความประพฤติ“แก่นแท้ของทุกรัฐบาล” วาทะของ Emerson “เป็ นเผด็จการทรราช” จึงไม่สําคัญว่าจักเป็ น การปกครองโดยอํานาจจากพระเจ้าหรือด้วยหลักเสียงข้างมากทว่าทุกกรณีล้วนตั้งเปต้องาให้ยอมจํานนภายใต้ กฎแห่งการบังคับบัญชาอย่างสิ้นเชิง
อ้างถึงรัฐบาลสหรัฐ นักอนาธิปไตยชาวอเมริกันที่ยิ่งใหญ่ที่สุดDavidThoreauเอ่ยไว้ว่า“รัฐบาลจะเป็ นสิ่งใดได้เล่า นอกจากจารีตประเพณีไว้สืบทอดแม้นเพิ่งผ่านพ้นมา ต่างพยายามถ่ายทอดโดยไร้ข อบกพร่องสู่ลูกหลาน เยี่ยงนี้แต่ละกรณีจึงสูญเสียความเป็ นอันหนึ่งอกันขาดการยึดหลักคุณธรเดียวไร้ซึ่งพลังชีวิตมและมิสามารถ ดํารงชีวิตอยู่ได้เพียงลําพังกฎหมาย มิเคยทําให้มนุษย์ได้รับความยุติธรรมขึ้น และด้วยความเคารพต่อมัน แม้กระทั่งบ่อนํ้าอันศักดิส์ทธิ์ยังถือเป็ นตัวแทนของ“ความอยุติธรรม”ในทุกวันนี้”
ความเที่ยงแท้แห่งนัยสารของรัฐบาลคือความอยุติธรรมและด้วยความหยิ่งผยองที่มิเคยจักแยแสใครประกอบกับ ความพอเพียงของบรรดาชนชั้นนําผู้มิสามารถกระทําการใด “ผิด” ได้รัฐบาลในคราบนักบุญพิพากษาประณาม ด้อยค่าและสั่งล โทษด้วยความผิดอันไร้ซึ่งสาระสําคัญอย่างที่สุดในขณะที่ยังดํารงตนด้วยความผิดอันใหญ่หลวง นั่นคือ“การทําลายล้างเสรีภาพส่วนบุคคลเฉกเช่นี้”Ouida ได้ทําสิ่งถูกต้องเมื่อเธอยืนย“รันวฐมุ่งมัาที่นจะปลูกฝัง คุณสมบัติเยี่ยงนี้ให้กับส่วนรวมภายใต้คําสั่งให้เชื่อฟัง“และแล้วกรมสรรพากรแห่งคลังก็เติมเต็ม” พร้อมกับ การบรรลุขั้นสุด“การทอนค่าความเป็มนุษย์ให้มิต่างจากจักรกลไขลาน” ทว่า ในบรรยากาศของเสรีภาพอันแท้จริง ที่ดีกว่าและให้ความใส่ใจกว่าจักต้องการการดูแลรักษาและการแผ่ขยายอย่างกว้างขวางฉะนั้นจึงถึงคราแตกสลาย ย่อยยับอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ส่วนรัฐก็อยากจะมีเครื่องเก็บภาษีที่ไม่มีการผูกปมข้อยกเว้นใดจักเป็ นพ่อค้าที่มิเคยขาดดุล
ทั้งยังล้างสมองว่าเช่นนี้เป็ นเรื่องของส่วนรวมพึงกระทําในสิ่งเหมือนๆชื่อหัวปักหัวปํกันขาดชีวิตชีวาสง่าราศีา และไร้ซึ่งวิญญาณดุจดั่งฝูงแกะผู้นอบน้อมที่ยํ่าเดินผ่านทางทอดยาวอันขนาบข้างด้วยกําแพงสูงตระหง่านทั้งสองฟาก”
ทว่าแม้นฝูงแกะก็ยังพร้อมเสมอที่จะเผชิญหน้าต่อกรกับเล่ห์เหลี่ยมเพทุบายแห่งการฉ้อฉลของรัฐหากมิใช่เพราะ วิธีการทุจริตคอรัปชั่นการสร้างความเหลื่อมลํ้าจนถึงวิธีการกดขี่มแหงที่ใช้เพียงมุ่ตอบสนองเจตจํานงแห่งตน เยี่ยงนี้แล้วBakunin จึงปฏิเสธรัฐช่างมิต่างจากการต้องยอมศิโรราบของเสรีภาพแห่งปัจเจกบุคคลหรือชนกลุ่มน้อย การภินทนาการทําลายสัมพันธภทางสังคมพการลดทอน หรือปฏิเสธโดยสิ้นเชิงขอ การมีอยู่นั่นเพื่อให้เกิดเป็ น สิริมงคลแก่ชีวิตรัฐถือเป็ น“แท่นบูชาแห่งเสรีภาพทางการเมือง”เฉกเช่นเดียวกับ“แท่นบูชาทางศาสนาซึ่งได้รับ” การทํานุธํารงรักษาไว้เพียงให้ต้องประสงค์เพื่อการสังเวยมนุษย์
แท้จริงแล้วแทบไม่มีนักคิดสมัยใหม่ท่านใดที่จะมิเห็นด้วยว่ารัฐบาลหน่วยงานของรัฐหรือรัฐต่างมีไว้ เพื่อความจําเป็ นเพียงให้รักษาหรือปกป้สิทธิผลประโยชน์ทางทรัพย์สินและการผูกขาดองซึ่งไ้รับการพิสูจน์แล้วว่า มีประสิทธิภาพยิ่งในเรื่องดังกล่าวเพียงเท่านั้น
แม้กระทั่งGeorge Bernard Shaw ผู้หวังพึ่งปาฏิหาริย์จากรัฐภายใต้ลัทธิน ยมเฟมินิสม์กระนั้นก็ยอมรับว่า“ทุกวันนี้ ได้กลายเป็ นเครื่องจักรขนาดใหญ่กําลังเต็มอัตราศึกสําหรับการปล้นและขับทาสผู้อับจน” ในกรณีนี้จึงเป็ นเรื่องยาก ที่จะเห็นว่าเหตุใดผู้นําอันฉลาดปราดเปรื่องปรารถนาที่จะสนับสนุนคํ้าชูรัฐหลังจากกําจัดความยากจนให้สิ้นซาก
ช่างเป็ นที่น่าเสียดายยิ่งโชคร้ายที่ยังคงมีผู้คนจํานวนมิใช่น้อยต่างหลงเชื่อจนโงหัวมิขึ้นว่า“รัฐบาล” อยู่บนกฎแห่งธรรมชาติเพื่อรักษาระเบียบและความเป็ นเอกภาพแห่งสังคมลดการก่อาชญากรรม และป้ องกันมิให้ คนเกียจคร้านหลบหนีจากผลพวงแห่งกรรมฉะนั้นเรามาไตร่ตรองถึงเหล่าข้อโต้แย้งนี้กัน
กฎแห่งธรรมชาติคือปัจจัยในตัวมนุษย์ซึ่งยืนยันตัวนอย่างอิสระและเป็ นธรรมชาติโดยไม่มีผลกระทบใดจากภายนอก
สอดคล้องกับความต้องการของธรรมชาติตัวอย่างเช่นความต้องการสารอาหาร ความต้องการทางเพศ แสงสว่าง
อากาศ รวมถึงการออกกําลังกายนั่นล้วนอยู่บนกฎแห่งธรรมชาติซึ่งการแสดงออกดังกล่าวมิจําเป็ นต้องผ่านกลไก
ของรัฐบาลไม่ต้องใช้กระบอง ปื นกุญแจมือหรือคุกการตกอยู่ภายใต้กฎหมายด้วยเรื่องเยี่ยงนี้คงเรียกได้เพียง
“การจําต้องเชื่อฟัง”ทั้งๆ ที่พึงปรารถนาเพียงความเป็นธรรมชาติด้วยโอกาสอันเสรีการที่รัฐบาลไม่ดํารงตนด้วย
ปัจจัยที่กลมกลืนกันั้นได้รับการพิสูจน์แล้วจากมหากาพย์แห่งความรุนแรงการฝื นใจและการบีบบังคอับนเลวร้าย
ที่ทุกรัฐบาลต่างใช้เพื่อกระเสือกกระสนในความอยู่รอดกระนั้นBlackstone เอ่ยถูกต้องแล้วที่ว า“กฎหมายแห่งหมู่มวล
มนุษยชนมิได้อยู่บนพื้นฐานแห่งความเป็จริงช่างขัดกับกฎแห่งธรรมชาติยิ่งนักน”
เว้นเสียแต่ว่าเป็ นคําสั่งของกรุงวอร์ซอหลังจากที่กระทําการสังหารหมู่ผู้คนกว่าหลายพันชีวิตเฉกเช่นนี้ จึงเป็ นการยากที่จะไว้ใจกําหนดให้รัฐบาลมีอํานาจสจัดระเบียบหรือความเป็่งการเพื่อ นเอกภาพแห่งสามัคคีในสังคม การจัดระเบียบที่ได้มาจากการยอมจํานนและคงไว้ด้วยความหวาดกลัวนั้น มิอาจรับประกันความปลอดภัยมาก
ทว่า นั่นกลับเป็“การจัดระเบียบนเดียวที่รัฐบาลคงรักษาไว้”เอกภาพแห่งสังคมแท้จริงแล้วเกิดขึ้นตามธรรมชาติ จากความเป็ นนํ้าหนึ่งใจเดียวกันของผลประโยชน์ร่วมแห่งสังคมเฉกเช่นนี้ในสังคมที่ผู้คนทํางานหามรุ่งหามคํ่า มิเคยเหลือสิ่งใดขณะที่อีกหลายๆคนอันมิเคยต้องทํางานกลับมีความสุขในทุกสรรพสิ่งความเป็ นนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน แห่งผลประโยชน์ร่วมจึงไม่มีอยู่จริงเยี่ยงนี้เอกภาพแห่งสังคมจักเป็ นเพียงตํานานเล่าขานในจินตนาการเท่านั้น หนทางเดียวที่ผู้มีอํานาจจัดระเบียบจักพบกับสถานการณ์มหาวิบัตินี้คือการมอบเอกสิทธิอันพิเศษกว่า ให้กับบรรดาผู้ที่ผูกขาดโลกไว้แล้วพร้อมกดขี่มวลชนเพื่อยัดเยียดส่งต่อการตกทอดความเป็ นทาส กระนั้นทุกอณู คลังแสงของรัฐบาลมิว่าจะเป็กฎหมายน ตํารวจทหาร ศาล สภานิติบัญญัติเรือนจําต่างมีส่วนร่วมอย่างมาก ในการ “สร้างความปรองดอง” ทว่า กลับเป็ นองค์ประกอบซึ่ถือเป็ นอริแห่งปฏิปักษ์มากที่สุดในสังคม
คําขอโทษแก้ตัวอันฟังไม่ขึ้นที่สุดสําหรับผู้มีอํานาจและกฎหมาย“เพื่อทําหน้าที่ลดอาชญากรรม”นอกเหนือจาก ข้อเท็จจริงแห่งสัจธรรมที่ว่า“รัฐต่างหากเป็ นอาชญากรตัวพ่อ”แหกทุกฎแห่งลายลักษณ์อักษรพร้อมย่อยสลาย กฎแห่งธรรมชาติให้สิ้นปล้นในคราบภาษีทั้งยังฆ่าในรูปแบบสงครามและโทษประหารเฉกเช่นนี้จึงมิใช่การรับมือกับ อาชญากรรมโดยสิ้นเชิง ไม่แม้แต่จักทําลายหรือลดความหายนะอันน่าสยดสยองลงเพียงน้อยช่างล้มเหลวอย่างที่สุด
แม้นอาชญากรรมจักเป็ นความล้มเหลวไร้ค่าทว่ากลับเป็ นขุมพลังให้หนทางที่ผิดตราบใดที่ทุกสถาบันในทุกวันนี้ เศรษฐกิจการเมืองสังคมและศีลธรรมยังสมคบคิดกันเพื่อจะนําพลังความสามารถของมนุษย์ไปใช้ในทางมิถูกมิควร และตราบใดที่มนุษย์มิใช่น้อยยังอู่ผิดที่ผิดทางทําในสิ่งที่ไม่ชอบทําและใช้ชีวิตที่เกลียดการมีชีวิตอยู่เยี่ยงนั้น อาชญากรรมจักเป็ นสิ่งที่หลีกเลี่ยงมิได้และกฎหมายที่บัญญัติบังคับใช้รังแต่จะทวีขึ้นแม้นอาชญากรรมมิเคยลดทอน สังคมอย่างที่เป็ นอยู่ในทุกวันนี้รับรู้ถึงสิ่งใดบ้างเกี่ยวกับหนทางสู่ความสิ้นหวังความอัตคัดยากไร้ความหวาดหวั่น พรั่นพรึงการต่อสู้อันน่ากลัวที่จิตวิญญาณแห่งมนุษย์จําต้องส่งต่อไปสู่อาชญากรรมและความเสื่อมทราม กระนั้นมิว่าผู้ใดก็ตามทีที่รู้หนทางอันเลวร้ายเฉกเช่นนี้อาจมองไม่เห็นถึง“สัจธรรม” ในคําพูดของPeter Kropotkin
“บรรดาผู้ที่จะรักษาสมดุลระหว่าง“ผลประโยชน์” ซึ่งเกิดจากผลพวงแห่งกฎหมายและการลงโทษ กับ“ผลกระทบ” อันเสื่อมทรามที่จักเกิดแก่มวลมนุษยชาติตามมาผู้ที่จะประเมินกระแสแห่งความชั่วช้าสามานย์อันหลั่งไหลสู่สังคมมนุษย์
“ผู้แจ้งเบาะแส” กลับเป็ นที่โปรดปรานของผู้พิพากษาด้วยซํ้าทั้งยังรับเงินสดที่สั่งจ่ายโดยรัฐบาลภายใต้ข ออ้าง ในการช่วยเปิ ดโปงอาชญากรรมเหล่าผู้ที่จะเข้าไปในกําแพงคุกเพื่อดูว่ามนุษย์จักเป็ นเยี่ยงไรหากต้องถูกลิดรอนเสรีภาพ เมื่อต้องตก ยู่ภายใต้การดูแลของผู้คุมขังอํามหิตด้วยถ้อยคําหยาบคายทิ่มแทงจิตใจซํ้าแล้วซํ้าเล่าและเย้ยหยัน แดกดันให้อัปยศอดสูทว่าพวกเขาเหล่านั้นจัเห็นพ้องต้องกันเยี่ยงเดียวกับเราอย่างที่สุดว่าเครื่องคุมขัง แห่งพันธนาการการจําคุกและการลงโทษเป็ นสิ่งที่น่าสะอิดสะเอียนพึงยุติ”
อิทธิพลซึ่งการยับยั้งแห่งกฎหมายอันมีผลต่อผู้เกียจคร้านจึงเป็ เรื่องเหลวไหลเกินกว่าจะพิจารณาเห็นชอบได้ กระนั้นหากสังคมเพียงลดความสูญเสียทั้งค่าใช้จ่ายในการคงอยู่ของ“ชนชั้นขี้เกียจ”และค่าใช้จ่ายที่มากพอกัน ของ “ผู้ติดตาม”เพื่อคุ้มครองกราบก้มรับใช้ตามคําขอของพวกชนชั้นขี้เกียจเยี่ยงนี้จักทําให้ตารางงานสังคม มีล้นเหลือสําหรับทุกคนรวมไปถึงผู้ขี้เกียจแม้นเพียงครั้งคราวฉะนั้นควรใช้ดุลพินิจว่าความเกียจคร้านเปรียบได้ดั่ง สิทธิพิเศษหรือความผิดปกติทางร่างกายและจิตใจกันแน่ซึ่งด้วยระบบการผลิตอันบ้าคลั่งในทุกวันนี้ยิ่งจักเสริม ทั้งสองสิ่ง ทว่าปรากฏการณ์อัน่าประหลาดที่สุดณเพลานี้กลับเป็การที่ผู้คนยังอยากน “ทํางาน” อนาธิปไตย หมายมั่นที่จะปลดเปลื้องการใช้แรงงานเยี่ยงจักรกล ทั้งไร้ความรู้สึก ขาดชีวิตชีวาเศร้าโศกสิ้นหวังและต้องถูกบังคับ จิตใจเพื่อให้“งาน” กลายเป็ นเครื่องมือแห่งความสุขดั่งขุมพลังให้ชีวิตชีวา ด้วยความเหมาะสมสอดคล้องอันแท้จริง แม้กระทั้งปวงประชาผู้ยากจนข้นแค้นที่สุดพึงจักได้รับทั้งนันทนาการและความหวังจากการทํางานเฉกเช่นเดียวกัน
เพื่อให้บรรลุซึ่งสิ่งที่ได้เตรียมการไว้สําหรับชีวิตดังกล่าวจงตื่นรู้ว่ารัฐบาลพร้อมที่จะใช้มาตรการเยี่ยงอธรรม
โดยพลการ และการปราบปรามให้อันตรธารสิ้นซากอย่างดีที่สุดคือทุกชีวิตถูกขีดเขียนชี้นําเพรูปแบบเดียวง
ไร้ซึ่งห้วงคะนึงถึงสัมพันธภาพแห่งความผันแปรและความต้องการแท้จริงของปัจเจกบุคคลแ ะสังคมการจะล้มล้าง
รัฐบาลและกฎหมายลายลักษณ์อักษรอนาธิปไตยเสนอให้กอบกู้“ความเคารพตนเอง” และ “อิสรภาพที่แต่ละบุคคล
พึ่งจะมี” ด้วยการยับยั้งชั่งใจํากัดและการรุกรานจากเหล่าผู้มีอํานาจแห่งรัฐในข้อเพราะในเสรีภาพเท่านั้นที่มนุษย์
จักยังคงเติบโตได้อย่างสมบูรณ์เรียนรู้ที่จะคิดและเคลื่อนไหวอย่างอิสรเพื่อม บสิ่งที่ดีที่สุดแก่ตนเอง ตระหนักถึง
ขุมพลังแห่งพันธะทางสังคมที่ผูกมัดหมู่มวลมนุษย์ไว้ด้วยกันนั่นเป็ นสัจธรรมแห่งรากฐานของชีวิตทางสังคมอันปกติ
ทว่าธรรมชาติของมนุษย์ล่ะเปลี่ยนได้หรือไม่?หาก ไม่แล้วจักยืนหยัดภายใต้อนาธิปไตยไหม?
เจ้าธรรมชาติของมนุษย์ผู้น่าสงสารอาชญากรรมสยองเกล้าใดเล่าที่ก่อภายในนามเจ้า! หมู่มวลมนุษยชผู้โง่เขลา มิว่าจะราชาจนถึงตํารวจผู้สอนศาสนาครํ่าครึหัวกลวงไปจนถึงนักเล่นแร่แปรธาตุที่มองไม่เห็นซึ่งวิทยาศาสตร์ คงจักเอ่ยได้ว่า“เผด็จการแห่งธรรมชาติของมนุษย์ป็น”ยิ่งมีจิตใจปลิ้นปล้อนเจ้าเล่ห์ก็จักยิ่งยืนกรานหนักแน่นต่อ ความชั่วร้ายและความอ่อนแห่งธรรมชาติของมนุษย์อทว่า ในเพลานี้จักมีใครเอ่ยวาทกรรมใดถึงเรื่องนี้เยี่ยงไรได้ กับทุกจิตวิญญาณในคุกด้วยจิตที่ถูกลิดรอนอิสพร้อมโซ่ตรวนภาพบาดเจ็บสาหัสและทุพพลภาพิการทุกดวง
John Burroughs ได้ระบุในผลการศึกษาทดลองว่า“สัตว์ที่ถูกจองจํานั้นมิมีซึ่งประโยชน์ใด” สัญชาติญาณเฉพาะตัวของ อุปนิสตัยวตนและความอยากอาหารได้เปลี่ยนแปลงไปโดยสมบูรณ์เมื่อต้องถูกตัดขาดจากผืนดินแห่งทุ่งหญ้าและป่ าเขา กระนั้นด้วยธรรมชาติของมนุษย์ที่จําต้องถูกักขังในพื้นที่จํากัดจําเขี่ยทั้งการลงแส้ทุกวันให้ยอมจํานนแล้วจักเอ่ยถึง “ศักยภาพ” ได้เยี่ยงไร
เสรีภาพแผ่สยายปี กสร้างโอกาสอันดีทว่าสิ่งเหนืออื่นใดสันติภาพและสันติสุข การได้อยู่กับตนจักทําให้ตื่นรู ตระหนักถึงสิ่งครอบงําที่ทรงอํานาจเหนือกฎแห่งธรรมชาติของมนุษย์พร้อมกับความเป็ นไปได้อันยอดเยี่ยม
เยี่ยงนี้อนาธิปไตยจึงหมายถึงการปลดปล่อยจิตใจมนุษย์ให้เป็ นอิสระภายใต้การครอบงําทางศาสนา ปลดปล่อย รูปกายให้เป็ นอิสระจากการครอบงําทางวัตถุทรัพย์สินึทั้งให้หลุดพ้นจากพันธนาการแห่งการควบคุมสั่งการ
ของรัฐบาลอนาธิปไตยจึงยืนหยัดเพื่อการจัดระเบียบทางสังคมที่ยึดตามการรวมกลุ่มโดยเสรีและมุ่งสร้าง ความมั่งคั่งแท้จริงทางสังคมให้ผาสุกยั่งยืนด้วย“ระเบียบ” ที่จักรับประกันว่ามนุษย์ทุกชีวิตสามารถเข้าถึง ทุกสรรพสิ่งบนโลกได้อย่างอิสระพร้อมความเพลิดเพลินอย่างเต็มที่กับสิ่งจําเป็ นอันสําคัญแห่งชีวิต ตามอัตลักษณ์ตัวตนแห่งปรารถนา รสนิยมและความหลงใหลพึงใจของปัจเจกบุคคล
นี่มิใช่เรื่องเพ้อฝันหรือความผิดปกติทางจิตทว่าเป็ นบทสรุปจากเจ้าภาพแห่งวิญ�ูชนทั้งสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี ผู้มีปัญญาจากทุกหัวระแหงบนโลกใบนี้ด้วยข้อสรุปอันเป็ นผลมาจากการศึกษาแนวโน้มของสังคมสมัยใหม่อย่างใกล้ชิด จดจ่อและรอบคอบ พบว่า“เสรีภาพส่วนบุคคล”แห่งปัจเจกชนและ “ความเท่าเทียมกัน” ทางเศรษฐกิจของสังคม คือคู่ขุมพลังแฝงที่เปรียบได้ดั่งแรงผลักดันเพื่อรังสรรค์สิ่งดีงามแก่มนุษยชาติให้เป็ นจริง
เฉกเช่น“วิถีแห่งวิธีการ”ของอนาธิปไตยมิได้เป็อย่างที่บางคนฝังใจนถือเป็ ทฤษฎีแห่งอนาคตที่จักเป็ นจริงได้เพียง การดลใจจากสรวงสวรรค์!แต่หากอิงสัจธรรมนี่ยิ่งเป็ วิถีแห่งพลังชีวิตที่หล่อเลี้ยงชุมชนผาสุกให้สังคมและไม่แม้น “หยุดสร้างเงื่อนไขใหม่อยู่เสมอ”กระนั้นวิถีแห่งอนาธิปไตยจึงมิอาจรวมถึงแผนการที่ตายตัวอันจักนําไปใช้กับ ทุกสถานการณ์กระบวนการวิธีจําต้องเกิดจากพื้นฐานแห่งความจําเป็ นอันแท้จริงทางเศรษฐกิจในแต่ละอณูพื้นที่ สภาพภูมิอากาศทั้งความต้องการทางภูมิปัญญาและความเจ้าอารมณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งตัวละครที่เงียบสงบ ผู้มีอุปนิสัยเยือกเย็นเช่นTolstoyจักปรารถนาวิถีทางอื่นเพื่อการสร้างสังคมใหม่ที แตกต่างไปจากผู้ที่มีบุคลิกจริงจัง ดุดันซึ่งแสดงตัวตนชัดเจนอย่างMichael Bakunin หรือPeter Kropotkin ในทํานองเดียวกันอันจักเห็นได้ชัดเจนว่า ความต้องการทางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรัสเซียจําต้องมีการออกมาตรการคุมเข้มต่างๆ ที่แทรกซึม ความโหดร้ายและรุนแรงกว่าในอังกฤษหรืออเมริกาอนาธิปไตยเองมิได้ยืนหยัดสู้ด้วยการฝึ กซ้อมและเป็ นหนึ่งเดียวกัน เยี่ยงทหาร ทว่า ได้ฝึ กซ้อมและเป็ นหนึ่งเดียวเฉกเช่นเดียวกันอย่างไรก็ตาม ยืนหยัดซึ่งจิตวิญญาณแห่งการปฏิวัติ มิว่าจะในรูปแบบใดต่อทุกสรรพสิ่งที่ขัดขวางเพื่อถ่วงความเจริญของมนุษยชาติเหล่านักอนาธิปไตยเห็นพ้องต้องกัน เยี่ยงนี้ต่างสนับสนุนและร่วมต่อต้านกลไกทางการเมืองเพื่อนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งยิ่งใหญ่
“การลงคะแนนเสียงทั้งมวล”วาทกรรมจาก Thoreau “เป็ นเพียงการเล่นเกมประเภทหนึ่งมิต่างจากหมากฮอส หรือแบ็คแกมมอนคือการเล่นกับความถูกและผิดซึ่งพันธกรณีหน้าที่ต้องรับผิดชอบมิเคยเกินความได้เปรียบ แม้กระทั่งการโหวตลงคะแนนเพื่อสิ่งถูกต้องก็ช่างไร้ค่านักปราชญ์จักมิละทิ้งสิทธิ์ในความเมตตาแห่งโอกาสรึปรารถนา จักมีชัยด้วยอํานาจของคนส่วนใหญ่”การพินิจพิเคราะห์กลไกทางการเมืองและความสําเร็จของมันอย่างถี่ถ้วนจะเผย ให้เห็นซึ่งสัจธรรมแห่งตรรกะของ Thoreau
ประวัติศาสตร์ของรัฐสภาสะท้อนให้เห็นถึงสิ่งใดกันแทบมิเห็นสิ่งใดเลยนอกจาก“ความล้มเหลวและความพ่ายแพ้” ไม่แม้นจัก“ปฏิรูป”เพียงครั้งเพื่อให้ได้บรรเทาความตึงเครียดทางเศรษฐกิจและสังคมแห่งปวงประชา ถึงแม้จะมีการผ่านร่างกฎหมายอันมีผลบังคับใช้เพื่อการพัฒนาและคุ้มครองแรงงานแต่ก็ได้รับการพิสูจน์แล้ว ในปี ที่ผ่านมา เมื่อรัฐอิลลินอยส์ซึ่งบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองการทําเหมืองที่เข้มงวดที่สุดจําต้องประสบกับารจลาจล ครั้งมโหฬารที่สุดเช่นกันทั้งในรัฐทมี่การบัญญัติกฎหมายว่าด้วยแรงงานเด็กการแสวงหาผลประโยชน์จากเด็ก กลับอยู่ในระดับสูงสุดและถึงแม้นเหล่าแรงานจักได้รับโอกาสอย่างเต็มที่างการเมืองทว่าทุนนิยมก็มาถึงจุดสูงสุด แห่งความไร้ซึ่งยางอายอันหาที่สุดมิได้
แม้กระทั่งบรรดาแรงงานก็สามารถมีผู้แทนได้ซึ่งนักการเมืองสังคมนิยมคนดีของเรากําลังส่งเสียงกู่ก้องสดุดี โอกาสใดสําหรับความซื่อสัตย์สุจริตของพวกเขากระนั้นสิ่งหนึ่งที่พึงตื่นรู้หากเป็ นเรื่องกระบวนการทางการเมือง “วิถีแห่งเจตนาดีั้นเต็มไปด้วยหลุมพราง”เส้นสายเครือข่ายอุปถัมภ์เล่ห์เพทุบายประจบสอพลอ โกหกหลอกลวง ฉ้อฉลกลโกงแท้จริงแล้วเปรียบดั่งทุกคําอธิบายแห่ง“ความลวง” ที่ผู้หวังผลประโยชน์ทางการเมืองจักสามารถ ประสบความสําเร็จได้และสิ่งที่เพิ่มเข้ามากลับเป็การย่อยสลายความเป็น นอัตตาทั้งความเชื่อมั่นแห่งตนให้เสื่อมลง อย่างสมบูรณ์จนมิเหลือซึ่งความหวังจากมนุษย์ผู้ที่ถูกทอดทิ้งครั้งแล้วครั้งเล่ากับการที่ผู้คนโง่พอจะไว้วางใจ หลงเชื่อ และให้การสนับสนุนนักการเมืองที่ใฝ่ ฝัน“คนสุดท้ายเพียงเพื่อจักพบว่าตนเองถูกทรยศหักหลังและโกงในท้ายที่สุด”
อาจเอ่ยอ้างได้ว่ามนุษย์ผู้มีคุณธรรมจักไม่ทุจริตแม้นในการเมืองสกปรก รึบางทีอาจจะ “ไม่”ทว่ามนุษย์ในนาม ผู้แทนแห่งแรงงานคงทําสิ่งใดมิถูกเลยหากต้องใช้อํานาจแม้เพียงน้อยเพื่อแรงงาน ดังที่แสดงให้เห็นแล้วในหลายกรณี รัฐเป็ นเจ้ายทางเศรษฐกิจของประชาทาสผู้รับใช้ทั้งปวง โถ คนดีหากเป็ นฉะนี้แล้วจักยังคงยึดมั่นต่อศรัทธา ทางการเมืองเพื่อแลกกับความสูญเสียการสนับสนุนทางเศรษฐกิจหรือยึดติดกับเจ้าแห่งเศรษฐกิจนมิสามารถ กระทําความดีได้แม้เพียงเล็กน้อยเพราะเวทีการเมืองไม่มีท ่สําหรับตัวละครอื่นใดจําต้องเป็ได้เพียงน“คนโง่หรือคนโกง”
ไสยศาสตร์ทางการเมืองยังครอบงําจิตใจและความคิดแห่งมวลชน เฉกเช่นนี้มนุษย์ผู้รักในเสรีภาพแท้จริงจักไม่ ข้องเกี่ยวอีกต่อไปจักเชื่อในวาทกรรมของ Stirner “มนุษย์มีเสรีภาพอเท่าที่เขาเต็มใจรับมากกระนั้น”อนาธิปไตย จึงหมายถึง“การลงมือทํา” ด้วยการต่อต้านขัดขืนที่เปิ ดเผยทั้งคัดค้านกฎหมายและข้อกําหนดอันมีผลบังคับใช้ทั้งมวล เศรษฐกิจสังคมรวมถึงศีลธรรม ทว่าการยืนหยัดเพื่อการต่อต้านกลับถือเป็“นสิ่งผิดกฎหมาย” แม้น“ความอยู่รอด แห่งหมู่มวลนุษยชาติ”อยู่ในนั้นดั่งทุกสรรพสิ่งที่ผิดกฎหมายจําต้องมีองค์ประกอบแห่งคุณธรรมความซื่อตรง การพึ่งพาตนเองและความกล้าหาญซึ่งรวมอยู่ในนั้นเช่นกันเอ่ยได้อีกนัยหนึ่งต่างร้องเรียกหา “อิสระ” พร้อมการ ปลดปล่อย“จิตวิญญาณแห่งอิสรภาพ”แก่มนุษย์“มนุษย์”ผู้เป็ นมนุษย์ที่ยังมีกระดูกสันหลังซึ่งคุณจักแต้องมิได้ง่ายะ
การลงคะแนนเสียงแห่งสากลล้วนเป็ นหนี้การมีอยู่ของ“การลงมือทํา” ทว่าหากมิใช่เพราะจิตวิญญาณแห่งการกบฏ และการต่อต้านของบรรพบุรุษนักปฏิวัติชาวอเมริกันลูกหลาของพวกเขาจักยังค สวมเสื้อคลุมของกษัตริย์และหาก มิใช่เพราะการลงมือทําของJohn Brown พร้อมิตรสหาย อเมริกายังคงจักค้าเนื้อคนผิวดําจริงอยู่ทีการค้าเนื้อ คนผิวขาวยังเป็ นเยี่ยงนั้นสืบมาซึ่งนั่นจําต้องถูกทลายด้วยการลงมือทําเฉกเช่นเดียวกัน“การจัดตั้งสหภาพแรงงาน” สังเวียนเศรษฐกิจของเหล่านักสู้กลาดิเอเตอร์ยุคใหม่ล้วนเป็ นหนี้การคงอยู่ของการลงมือทําเมื่อมินานมานี้กฎหมาย และรัฐบาลได้พยายามบดขยี้บวนการสหภาพแรงงาน ทั้งประณามสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานในการรวมตัวอันมีผลให้ ต้องถูกจําคุกในฐานะผู้สมรู้ร่วมคิดกระนั้นหากเพียงมองว่านี่เป็การพยายามยืนยันเหตุแห่งผลของชีวิตแ ่ละคน ผ่านการร้องขอ วิงวอน ด้วยความประนีประนอมเยี่ยงนั้นในทุกวันนี้สหภาพแรงงานคงมีเพียงขี้ปะติ๋วแค่หยิบมือ ทั้งในฝรั่งเศสสเปน อิตาลีรัสเซียหรือแม้แต่ในอังกฤษเอง (การจลาจลที่เพิ่มขึ้นของสหภาพแรงงานอังกฤษเป็ น สักขีพยาน) การลงมือปฏิวัติวงการเศรษฐกิจโดยตรงกลายเป็ นขุมพลังสําคัญในการต่อสู้เพื่อเสรีภาพทางอุตสาหกรรม จนโลกได้ตระหนักถึงพลังแท้จริงแห่งอํานาจแรงงาน “การประท้วงผละงาน”ที่พึ่งผ่านพ้เป็นนั้นการแสดงออก ซึ่งจิตสํานึกทางเศรษฐกิจขั้นสูงสุดของเหล่าแรงงาน กลับถูกเย้ยหยันในอเมริกาฉะนั้นณ เพลานี้ทุการประท้วงใหญ่ ที่มุ่งมั่นชัยชนะ จําต้องตื่นระหนักถึงปัจจัยสําคัญทั่วไปของการประท้วงู้“ความเป็ นปึ กแผ่นเดียวกันแห่งเอกภาพ”
“การลงมือทํา”ซึ่งได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภตามแนวทาพงเศรษฐกิจนั้นมีศักยภาพเท่าเทียมกัน ในสภาพแวดล้อมของแต่ละบุคคลเฉกเช่นนั้นเมื่อมีกองกําลนังบร้อยรุกลํ้าเข้าโจมตีผู้ใดผู้หนึ่งจักมีเพียง“การมิยอม จํานน”ทุ่มสุดกําลังสู้อย่างมิลดละเท่านั้นที่จะปลดปล่อยเขาให้เป็ได้ในที่สุดนอิการลงมือทําระเพื่อมิยอมจํานนต่อ ผู้มีอํานาจแห่งทุนนิยมการลงือทําเพื่อคัดค้านต้านอํานาจกฎหมายการลงมือทําเพื่อยืนหยัดสู้ต่อการรุกราน ของอํานาจแทรกแซงอันขัดหลักศีลธรรมจรรยาบรรณของเรา ทว่านี่เป็นตรรกะ “วิถีซึ่งสอดคล้องกันแห่งอนาธิปไตย”
เฉกเช่นนี้จักมินําไปสู่การปฏิวัติหเยี่ยงรือ?แน่นอนนี่จะนําไปสู่การปฏิวัติเมื่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจักเกิดขึ้น มิได้จริงหาก“ไม่มี” การปฏิวัติผู้คนมักมิคุ้นเคยกับประวัติศาสตร์แห่งตน รึไม่แม้นจักเรียนรู้ว่าการปฏิวัติ เป็ นเพียง“อุดมการณ์” อันจักนําไปสู่“การลงมือทํา”
อนาธิปไตยหัวกะทิชั้นเลิศแห่งอุดมคติอันสูงส่ง ณ เวลานี้ ได้แทรกซึมไปทั่วทุกหัวระแหง ในความบากบั่นอุตสาหะของมวลมนุษยชาติ วิทยาศาสตร์ศิลปะวรรณกรรม นาฏกรรม หรือความเพียรพัฒนาเศรษฐกิจ อันที่จริง การต่อต้านของปัจเจกบุคคลและทางสังคมต่อความมิชอบธรรมอันไม่ปกติทั้งปวง ล้วนนําทางส่องสว่างด้วยแสงแห่งจิตวิญญาณของอนาธิปไตย ดั่งปรัชญาอํานาจอธิปไตยแห่งปัจเจกชน ทฤษฎีแห่งความเป็นเอกภาพทางสังคม สัจธรรมอันยิ่งใหญ่ผุดผ่องและยังคงอยู่ ที่กําลังสร้างโลกขึ้นมาใหม่ และนั่นจักนําพาสู่รุ่งอรุณอันงดงามกว่า